คนสื่อร่วมหาทางออก เมื่อคนเสพสื่อตั้งคำถามถึงความน่าเชื่อถือของสื่อ
ช่วงเสวนาในหัวข้อ “สื่อที่สังคมเชื่อใจในวิกฤตสังคมไทย ทบทวนและทางออก” โดยมีคนในวิชาชีพสื่อร่วมแสดงความคิดเห็นเป็นจำนวนมาก

ร่วมตรวจสอบข่าวปลอม ข่าวลวงไปกับเรา ส่องสื่อร่วมกับ COFACT ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันด้านข่าวปลอมให้ทุกคนก้าวทัน เพื่อเข้าใจและรับมือกับข่าวปลอมได้
ช่วงเสวนาในหัวข้อ “สื่อที่สังคมเชื่อใจในวิกฤตสังคมไทย ทบทวนและทางออก” โดยมีคนในวิชาชีพสื่อร่วมแสดงความคิดเห็นเป็นจำนวนมาก
โคแฟค (ประเทศไทย) และภาคีเครือข่ายทั่วประเทศ จัดการประชุม Trusted Media Summit APAC 2022 ประจำประเทศไทย
Google News Initiative ร่วมกับภาคีเครือข่ายทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จัดการประชุม Trusted Media Summit APAC 2022
สัมมนาออนไลน์การอบรมหลักสูตรระยะสั้นแบบเรียนด้วยตนเองว่าด้วยหลักสูตรการตรวจสอบข้อเท็จจริง ที่ทาง IFCN ร่วมมือกับ COFACT Thailand และสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย
นอกจากเสวนาในช่วงแรกของโคแฟค ประเทศไทยในเรื่องของ กาลามสูตรในยุคดิจิทัล: เส้นบางๆ ระหว่างความจริงและความเชื่อ แล้ว ยังมีเสวนาในช่วงเย็นที่เป็นประเด็นหลักเน้นหนักในเรื่อง เราจะไกล่เกลี่ยความขัดแย้งในโลกไซเบอร์ (Cybermediation) ได้หรือไม่? ซึ่งมีวิทยากรที่น่าสนใจหลากหลายท่าน ส่องสื่อจึงรวบรวมสรุปมาให้ได้ติดตามกัน
วันนี้ (28 พฤษภาคม 2564) ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหลากหลายหน่วยงาน จัดกิจกรรมเสวนาออนไลน์ นักคิดดิจิทัลครั้งที่ 16 “กาลามสูตรในยุคดิจิทัล: เส้นบางๆ ระหว่างความจริงและความเชื่อ”
นอกจากการสนทนาของ COFACT Talk เมื่อวานนี้ (10 พฤษภาคม 2564) ที่เป็นการล้อมวงคุยระหว่างคุณสุภิญญา กลางณรงค์ ผู้ร่วมก่อตั้งภาคีโคแฟค ประเทศไทย และคุณสมชัย สุวรรณบรรณ
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2564 ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ได้จัดการเสวนา Cofact Talk ภายใต้หัวข้อ “ข่าวลวงวัคซีน กับทฤษฎีสมคบคิด” โดยได้แขกรับเชิญ ได้แก่ คุณสมชัย สุวรรณบรรณ
ในช่วงสุดท้ายของการจัดกิจกรรมในวันนี้ ทางโคแฟคร่วมกับชัวร์ก่อนแชร์ ของ บมจ.อสมท ได้จัดห้อง Clubhouse ในหัวข้อ “How to “SureVac” เช็กยังไงให้ชัวร์เรื่อง “วัคซีน”” ซึ่งมีวิทยากรสำคัญๆ ทั้งทางการแพทย์ ทางสื่อมวลชน ทางภาคประชาสังคม และหน่วยงานของรัฐมาร่วมพูดคุยกัน
ภาคีโคแฟคยังมีการถ่ายทอดสดในภาคค่ำเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 ในการสื่อสารจากหลายภาคส่วนอีกด้วย ซึ่งในช่วงแรกเราจะขอนำเสนอ 4 มุมมอง
ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานหลายภาคส่วน จัดกิจกรรมเนื่องในวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก ประจำปี 2564 โดยในงานได้มีการเสวนาเวทีนักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 15
ในเสวนาช่วงที่สองเป็นเสวนาที่มีวิทยากรคือนักข่าวต่างประเทศมาร่วมพูดคุยถึงกรณีการนำเสนอข้อมูลเรื่องวัคซีนโควิด-19
ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานหลายภาคส่วน จัดกิจกรรมเนื่องในวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก ประจำปี 2564 โดยในงานได้มีการเสวนาเวทีนักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 15
ทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ส่องสื่อจึงเริ่มต้นค้นหาว่าเว็บไซต์สื่อในบ้านเรามีเว็บไซต์ไหนที่มีคอลัมน์เกี่ยวกับการตรวจสอบข่าวลวงบ้าง? แล้วก็ค้นพบเว็บไซต์ต่างๆ ดังต่อไปนี้ที่เราจะรายงานกัน ซึ่งแน่นอนว่าต้องยอมรับว่าค่อนข้างหายากเลยทีเดียว
วันที่ 2 เมษายน ซึ่งทุกๆ ปีจะเป็นวัน International Fact-Checking Day เพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับประเด็นข่าวลวงและส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบ ซึ่งคนก่อตั้งคือ International Fact-Checking Network (IFCN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่สนับสนุนการทำงานในการตรวจสอบข่าวลวงในแต่ละประเทศอีกด้วย ภาคีโคแฟคจึงได้จัดงานวันตรวจสอบข่าวลวงในประเทศไทยขึ้น วันนี้ส่องสื่อจึงสรุปช่วงบ่ายที่สำคัญๆ มาให้ติดตามกันครับ