“โอกาสและอุปสรรค การตรวจสอบข้อเท็จจริงในประเทศไทย” – สรุปช่วงเช้าของวันตรวจสอบข่าวลวง
ภาคีโคแฟคจึงได้จัดงานวันตรวจสอบข่าวลวงในประเทศไทยขึ้น วันนี้ส่องสื่อจึงสรุปช่วงเช้าที่สำคัญๆ มาให้ติดตามกันครับ

ร่วมตรวจสอบข่าวปลอม ข่าวลวงไปกับเรา ส่องสื่อร่วมกับ COFACT ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันด้านข่าวปลอมให้ทุกคนก้าวทัน เพื่อเข้าใจและรับมือกับข่าวปลอมได้
ภาคีโคแฟคจึงได้จัดงานวันตรวจสอบข่าวลวงในประเทศไทยขึ้น วันนี้ส่องสื่อจึงสรุปช่วงเช้าที่สำคัญๆ มาให้ติดตามกันครับ
ในวันนี้ ส่องสื่อจึงขอสรุปให้ได้อ่านกันแบบรวดเดียวจบกัน เพื่อเรียนรู้ประเด็นจากการทำงานข่าวลวงเชิงพื้นที่ต่อไปด้วย
แน่นอนว่าคนในวงการสื่อคงจะรู้จักว่าทุกวันที่ 2 เมษายน ของทุกๆ ปี จะเป็นวัน International Fact-Checking Day ซึ่งปีนี้เองทาง CO-FACT ร่วมมือกับหลายภาคส่วนและภาคีเครือข่าย จัดกิจกรรมในวันที่ 2 เมษายนขึ้นมา โดยหนึ่งในนั้นที่ถือว่าเป็นน้ำจิ้มก่อนวันจริงคือการตั้งห้อง Clubhouse ภายใต้ชื่อห้อง “Why We Need Fact-Checkers?”
เขาว่ากันว่าเวลาจะทำงานอะไรสักอย่างทุกคนมักหวังผลเสมอ เช่นเดียวกับการสร้างข่าวปลอมที่คนสร้างต้องหวังผลอะไรสักอย่างอย่างแน่นอนอยู่แล้ว ยิ่งเป็นข่าวในเชิงทางการเมืองด้วยละก็จะยิ่งหวังผลเป็นอย่างมากเลยทีเดียว ในตอนสุดท้ายของบทความซีรีส์ชุด “ข่าวปลอมกับการเมืองไทย” ที่ร่วมกันจัดทำโดยส่องสื่อ และ COFACT ในตอนนี้เราจะมาแกะหาสาเหตุของข่าวปลอมทั้งหมดว่าเขาหวังผลอะไรกันแน่? ติดตามกันครับ
“ข่าวปลอม” กับการเมืองเป็นของคู่กันมาโดยตลอด ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการโจมตีฝั่งตรงข้ามให้เกิดความเสียหายทั้งชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือ
หลังจากที่เราได้อ่านบทความแรกเกี่ยวกับข่าวปลอมบนโลกออนไลน์กันไปแล้ว เรากลับมาดูการทำหน้าที่ของสื่อหลักตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และการแบนสื่อจากภาครัฐและประชาชน
วันนี้ทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ส่องสื่อ ร่วมกับ COFACT เราจะมาร่วมตรวจสอบข่าวปลอมและแนวทางของแต่ละฝ่ายต่อข่าวปลอมกันครับ
หน่วยงาน COFACT ประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรหลายภาคส่วน ร่วมกันจัดกิจกรรม Digital Thinker Forum ครั้งที่ 13 จากรุ่นแอนะล็อกสู่ยุคดิจิทัล เราจะลดช่องว่างการสื่อสารด้วยความจริงและความงามได้อย่างไร ซึ่งได้ตัวแทนทั้งสื่อมวลชน นักศึกษา และอดีตนายกรัฐมนตรี ร่วมพูดคุยในเวทีนี้เพื่อให้ความเห็นและร่วมหาทางออกด้วยกันในการลดช่องว่างทางการสื่อสารด้วย