คนไทยจะได้ดูบอลโลก? กับกฎ Must Have ของ กสทช. จากกรณีศึกษาของ RS
อีกไม่กี่วันหลังจากบทความนี้ออกมา ก็จะถึงช่วงของเทศกาลที่ทุกคนรอคอยอย่างการแข่งขันฟุตบอลโลก ซึ่งก็ยังดูวุ่นวาย ๆ อยู่พอสมควร เพราะพี่ไทยของเราก็ดันมีปัญหากับเรื่องของค่าลิขสิทธิ์อยู่

กว่าจะกำเนิดสถานีโทรทัศน์สักช่อง คงไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะทำให้เกิดขึ้น และยิ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในผืนแผ่นดินเอเชียด้วยแล้วล่ะก็ยิ่งยากเข้าไปใหญ่ ใช่ครับ เรากำลังพูดถึง “อุตสาหกรรมโทรทัศน์ไทย” นั่นเองครับ อุตสาหกรรมที่ก่อร่างสร้างฐานทำให้อุตสาหกรรมอื่นๆ เจริญเติบโตตามมาอีกมากมาย
ส่องสื่อขอเชิญชวนทุกคนมารู้จักประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมโทรทัศน์ไทย ผ่านคอลัมน์พิเศษ “THAI TV HISTORY” ไปด้วยกันครับ
อีกไม่กี่วันหลังจากบทความนี้ออกมา ก็จะถึงช่วงของเทศกาลที่ทุกคนรอคอยอย่างการแข่งขันฟุตบอลโลก ซึ่งก็ยังดูวุ่นวาย ๆ อยู่พอสมควร เพราะพี่ไทยของเราก็ดันมีปัญหากับเรื่องของค่าลิขสิทธิ์อยู่
บางคนอาจจะบ่นว่า กล่องอะไรเยอะแยะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่อย่างไร เมื่อเราย้อนไปยุคที่มีการออกอากาศย่านความถี่ UHF ครั้งแรก
1 ในสิ่งที่น่าจับตาก็คือ “รายการข่าว” ที่ต่างคนต่างไม่มีใครยอมใคร และเรตติ้งก็ผลัดกันขึ้น ผลัดกันลง จนน่าจับตามอง เราจะยกตัวอย่างมาให้ 2 รายการ ซึ่ง 2 รายการนี้ก็คงเป็นรายการที่หลาย ๆ คนรู้จักกันดีในระดับหนึ่ง
ในแวดวงสื่อสารมวลชน หรือผู้ที่เรียนด้านสื่อ ต้องเคยได้ยินหรือผ่านตากันมาบ้างกับแนวคิดเรื่อง “Echo Chamber” หรือแปลว่า “ห้องเสียงสะท้อน”
เชื่อว่าผู้อ่านหลาย ๆ ท่าน รวมถึงตัวผมเอง คงจะผ่านยุคที่ทีวีแข่งขันมาในหลายรูปแบบ 1 ในนั้นคือยุคเฟื่องฟูของสถานีโทรทัศน์ไอทีวี
Agenda setting เป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของสื่อมวลชน ที่สื่อมวลชนมีอำนาจในการกำหนดวาระสำคัญของข่าวสาร
หลายคนคงเคยที่จะติดตามรายการสนทนาเชิงข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน หรือที่เราเรียกกันว่า News Talk กันอยู่แล้ว ซึ่งก็คือรายการที่เชิญแขกรับเชิญที่อยู่ในความสนใจ มาพูดคุยประเด็น ณ ขณะนั้นที่เป็นที่สนใจ
เหตุการณ์ “รัฐประหาร ’57” โดยทีมคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือที่รู้จักกันดิบดีจนเข้าเส้นว่า คสช. นั่นเอง ว่าแต่ทำไมถึงทำให้เกิดวิกฤตเสรีภาพสื่อล่ะ?
หากพูดถึงรายการในตำนานอย่าง “แฟนพันธุ์แท้” แล้วหลาย ๆ คนคงจะนึกถึงรายการควิซโชว์ที่ให้สาระความรู้ในเรื่องที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจและกลับมาเป็นที่สนใจได้อีกครั้ง
อินเตอร์แอคทีฟเกมโชว์ (อังกฤษ : Interactive Game Show) คือรูปแบบรายการที่ผู้ชมรายการบนหน้าจอจากทางบ้าน มีสิทธิร่วมสนุกและกลายเป็นผู้เข้าแข่งขันโดยตรง
หลายท่านอาจสังเกตได้ว่ารายการเกมโชว์ใหม่ ๆ ที่ปรากฏบนหน้าจอโทรทัศน์ไทยนั้น แทนที่เราจะคาดหวังได้ว่าเราคงจะได้พบกับรายการเกมโชว์ที่คนไทยคิดเอง ทำเอง สดใหม่เหมือนเมื่อก่อน
นอกเหนือจากการลงทุนโดยหน่วยงานราชการแล้ว รัฐบาลยังได้ออกพระราชบัญญัติสำคัญซึ่งเป็นใบเบิกทางให้ช่อง 4 ถือกำเนิดขึ้น โดยมี 2 ฉบับ
ในช่วงปี พ.ศ. 2508-2509 ทางกรมประชาสัมพันธ์ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น โดยการส่งคณะผู้เชี่ยวชาญมาสำรวจและศึกษา เพื่อจัดตั้งเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ทั่วประเทศ โดยได้ดำเนินการสำรวจและวางแผนจัดตั้งเครือข่ายโทรทัศน์ 2 เครือข่ายทั่วประเทศ และยังได้กำหนดรูปแบบของเครือข่าย ที่ตั้งสถานีส่งสัญญาณ ความสูงของเสาส่ง กำลังส่งออกอากาศ และคลื่นความถี่ที่ใช้งานให้กับกรมประชาสัมพันธ์อีกด้วย
หลังจากที่โทรทัศน์ภาพขาว-ดำ ดำเนินการออกอากาศไปได้สักช่วงระยะหนึ่ง ก็มีการปรับเปลี่ยนระบบไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครที่จากเดิมใช้ระบบ 110 โวลต์ 60 ไซเคิล ปรับมาเป็นระบบ 220 โวลต์ 50 ไซเคิลเป็นการทดแทน
การเกิดขึ้นของโทรทัศน์กรมประชาสัมพันธ์นั้น เกิดขึ้นในช่วงที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ณ ขณะนั้น ประเทศไทยอยู่ในช่วงเร่งพัฒนาประเทศ และรัฐบาลเล็งเห็น อยากให้ประชาชนรับทราบข่าวสาร นโยบาย และการดำเนินการโครงการของรัฐอย่างรวดเร็วและทั่วถึง จึงได้ตั้งหน่วยงานในสังกัดกรมประชาสัมพันธ์ขึ้น