คอนเทนต์คุณภาพจะเติบโตหรือจะโดนกลืนด้วยคอนเทนต์เรียกเรตติ้ง?
เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 บยสส. รุ่นที่ 2 ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ จัดงานสัมมนาสาธารณะในหัวข้อ “คอนเทนต์คุณภาพกับโอกาสเติบโตในสมรภูมิเรตติ้ง” ณ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 บยสส. รุ่นที่ 2 ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ จัดงานสัมมนาสาธารณะในหัวข้อ “คอนเทนต์คุณภาพกับโอกาสเติบโตในสมรภูมิเรตติ้ง” ณ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
1 ในสิ่งที่น่าจับตาก็คือ “รายการข่าว” ที่ต่างคนต่างไม่มีใครยอมใคร และเรตติ้งก็ผลัดกันขึ้น ผลัดกันลง จนน่าจับตามอง เราจะยกตัวอย่างมาให้ 2 รายการ ซึ่ง 2 รายการนี้ก็คงเป็นรายการที่หลาย ๆ คนรู้จักกันดีในระดับหนึ่ง
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ได้จัดการประชุมคณะกรรมการ กสทช. ครั้งที่ 15/2564
ในแวดวงสื่อสารมวลชน หรือผู้ที่เรียนด้านสื่อ ต้องเคยได้ยินหรือผ่านตากันมาบ้างกับแนวคิดเรื่อง “Echo Chamber” หรือแปลว่า “ห้องเสียงสะท้อน”
บทความที่ผมกำลังพิมพ์มาให้ท่านอ่าน และที่ท่านกำลังจะอ่านอยู่นี้จะมาพังทลายความน่าเชื่อถือของสำนักข่าวทั้งที่มีชื่อเสียงและไม่มีชื่อเสียงที่พวกคุณหลงเชื่อไปแล้ว
Agenda setting เป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของสื่อมวลชน ที่สื่อมวลชนมีอำนาจในการกำหนดวาระสำคัญของข่าวสาร
วันนี้ส่องสื่อเชิญนักข่าวออนไลน์ ศิษย์เก่าจากวารสารฯ ธรรมศาสตร์ ผู้สนใจในประเด็นผู้พิการและชอบการถ่ายรูปเป็นอย่างมาก นั่นก็คือ พี – “พริสม์ จิตเป็นธม” Video Journalist จาก BBC Thai มาร่มคุยถึงเส้นทางการเรียน การทำงานที่เริ่มต้นจากการอยากเรียนภาพยนตร์ แต่ไปจบที่วิทยุโทรทัศน์ ตลอดจนถึงการทำงานเป็น Video Journalist ที่ชื่ออาชีพดูแปลกใหม่ แต่กว่าจะมาเป็นวีดีโอสักชิ้นไม่ง่ายเลย ร่วมอ่านบทสัมภาษณ์นี้ไปด้วยกัน อ่านแล้วคุณอจจะหลงรักนักข่าวคนนี้ก็เป็นไปได้
หลังจากที่เราได้อ่านบทความแรกเกี่ยวกับข่าวปลอมบนโลกออนไลน์กันไปแล้ว เรากลับมาดูการทำหน้าที่ของสื่อหลักตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และการแบนสื่อจากภาครัฐและประชาชน
ปี พ.ศ.2563 เราอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นปีที่มีการแบนสื่อมากที่สุดอีกปีหนึ่ง เนื่องจากการนำเสนอข่าวที่ขัดต่อจรรยาบรรณสื่อ รวมไปถึงความพยายามอยากนำเสนอข่าวให้ถึงประชาชนอย่างรวดเร็วมากที่สุด จนทำให้เกิดความผิดพลาดและมีผลกระทบตามมา ทำให้เกิดการวิจารณ์และส่งผลเสียต่อสังคม ตามมาด้วยบทลงโทษที่สื่อมวลชนเองต้องรับสภาพ วันนี้เราจะพาไปย้อนดูเหตุการณ์กัน
วันนี้ทีมกองบรรณาธิการบริหารเว็บไซต์ส่องสื่อ ได้รับเกียรติจาก “คุณกรุณา บัวคำศรี” มาร่วมสัมภาษณ์และถกถามถึงประเด็นต่างๆ ในวงการโทรทัศน์ที่ไม่เชื่อมต่อกับโลกของทวิตเตอร์ว่าเกิดอะไรขึ้น? แล้วบทบาทของสื่อในยุคปี 2020 จะเป็นอย่างไรต่อไป? รวมไปถึงว่าทำไมคนไทยถึงต้องให้ความสำคัญกับข่าวต่างประเทศล่ะ? ติดตามจากบทสัมภาษณ์ชิ้นนี้ได้เลยครับ
สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2563 กลุ่มนักศึกษาและภาคประชาชนได้มีการชุมนุมเพื่อเรียกร้องเสรีภาพและประชาธิปไตย ภายใต้ชื่อเวที #ธรรมศาสตร์จะไม่ทน ซึ่งมีผู้ชุมนุมจำนวนมาก และส่วนหนึ่งมีข้อเรียกร้องที่ออกมาจากนักศึกษาและประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสถาบันฯ 10 ข้อออกมา รวมไปถึงข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลในการดำเนินการให้สิทธิเสรีภาพ และการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
หลายสถาบันและองค์กร จึงมารวมตัวจัดกิจกรรมเสวนาหลังการยื่นหนังสือไปยัง กสทช. ในงานที่มีชื่อว่า “ข่าวเลยเถิดละเมิดสิทธิ ปั่นดรามา มอมเมา… สังคมไทยควรทำอย่างไร ?” ซึ่งเป็นการตั้งคำถามการนำเสนอข่าวที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ในรูปแบบการนำเสนอแบบมีพล็อตเรื่อง เปรียบดั่งคล้ายละครนั่นเอง
เพื่อเป็นการต้อนรับวันสากลยุติความเกลียดกลัวคนรักเพศเดียวกัน คนข้ามเพศ และคนรักสองเพศ ซึ่งจะตรงกับวันที่ 17 พฤษภาคมของทุกปี ทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ส่องสื่อจึงดึงตัวแขกรับเชิญซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อจากพรรคก้าวไกล และโลดแล่นในวงการบันเทิงมาอย่างยาวนาน อย่าง “ครูธัญ – ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์” มาพูดคุยหลากหลายประเด็นที่เกี่ยวข้องกับลิขสิทธิ์ เรื่อง LGBT หรือแม้กระทั่งบทบาทของครูธัญเอง ถ้าพร้อมแล้วไปอ่านกันได้เลยครับ
สถานการณ์สงครามโรค COVID 19 นั้น ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อ มากกว่า 2,220 คน โดยปัจจุบันยังไม่มีแนวทางในการรักษาและป้องกันได้อย่างหายขาด เนื่องจากต้องรอเวลาการพัฒนาวัคซีน โรคอุบัติใหม่ที่สร้างความตื่นตระหนกไปทั่วโลกนี้ไม่ได้นำมาเฉพาะโรค แต่นำพาความหวาดกลัว ความตื่นตระหนก ของคนในสังคมทั้งหมด
จากเหตุการณ์กราดยิงที่นครราชสีมา ทำให้แต่ละสื่อต่างต้องเร่งทำหน้าที่นำเสนอเรื่องราวนี้ เพื่อให้มีความฉับไวในการส่งสารถึงประชาชน แต่ว่าการนำเสนอข่าวนั้นกลับมีบางสื่อไม่รู้ว่าทำเกินขอบเขต เกินความเหมาะสม ทำให้มีการตั้งคำถามจากกลุ่มผู้ใช้สังคมออนไลน์เป็นจำนวนมาก แม้ภายหลังกสทช. ขอความร่วมมือก็ยังมีบางสื่อที่ไม่หยุดการนำเสนอข่าว