กาลามสูตรในยุคดิจิทัล: เส้นบางๆ ระหว่างความจริงและความเชื่อ
วันนี้ (28 พฤษภาคม 2564) ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหลากหลายหน่วยงาน จัดกิจกรรมเสวนาออนไลน์ นักคิดดิจิทัลครั้งที่ 16 “กาลามสูตรในยุคดิจิทัล: เส้นบางๆ ระหว่างความจริงและความเชื่อ”

วันนี้ (28 พฤษภาคม 2564) ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหลากหลายหน่วยงาน จัดกิจกรรมเสวนาออนไลน์ นักคิดดิจิทัลครั้งที่ 16 “กาลามสูตรในยุคดิจิทัล: เส้นบางๆ ระหว่างความจริงและความเชื่อ”
นอกจากการสนทนาของ COFACT Talk เมื่อวานนี้ (10 พฤษภาคม 2564) ที่เป็นการล้อมวงคุยระหว่างคุณสุภิญญา กลางณรงค์ ผู้ร่วมก่อตั้งภาคีโคแฟค ประเทศไทย และคุณสมชัย สุวรรณบรรณ
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2564 ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ได้จัดการเสวนา Cofact Talk ภายใต้หัวข้อ “ข่าวลวงวัคซีน กับทฤษฎีสมคบคิด” โดยได้แขกรับเชิญ ได้แก่ คุณสมชัย สุวรรณบรรณ
ในช่วงสุดท้ายของการจัดกิจกรรมในวันนี้ ทางโคแฟคร่วมกับชัวร์ก่อนแชร์ ของ บมจ.อสมท ได้จัดห้อง Clubhouse ในหัวข้อ “How to “SureVac” เช็กยังไงให้ชัวร์เรื่อง “วัคซีน”” ซึ่งมีวิทยากรสำคัญๆ ทั้งทางการแพทย์ ทางสื่อมวลชน ทางภาคประชาสังคม และหน่วยงานของรัฐมาร่วมพูดคุยกัน
ภาคีโคแฟคยังมีการถ่ายทอดสดในภาคค่ำเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 ในการสื่อสารจากหลายภาคส่วนอีกด้วย ซึ่งในช่วงแรกเราจะขอนำเสนอ 4 มุมมอง
ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานหลายภาคส่วน จัดกิจกรรมเนื่องในวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก ประจำปี 2564 โดยในงานได้มีการเสวนาเวทีนักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 15
ในเสวนาช่วงที่สองเป็นเสวนาที่มีวิทยากรคือนักข่าวต่างประเทศมาร่วมพูดคุยถึงกรณีการนำเสนอข้อมูลเรื่องวัคซีนโควิด-19
ภาคีโคแฟค ประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานหลายภาคส่วน จัดกิจกรรมเนื่องในวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก ประจำปี 2564 โดยในงานได้มีการเสวนาเวทีนักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 15
ทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ส่องสื่อจึงเริ่มต้นค้นหาว่าเว็บไซต์สื่อในบ้านเรามีเว็บไซต์ไหนที่มีคอลัมน์เกี่ยวกับการตรวจสอบข่าวลวงบ้าง? แล้วก็ค้นพบเว็บไซต์ต่างๆ ดังต่อไปนี้ที่เราจะรายงานกัน ซึ่งแน่นอนว่าต้องยอมรับว่าค่อนข้างหายากเลยทีเดียว
วันที่ 2 เมษายน ซึ่งทุกๆ ปีจะเป็นวัน International Fact-Checking Day เพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับประเด็นข่าวลวงและส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบ ซึ่งคนก่อตั้งคือ International Fact-Checking Network (IFCN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่สนับสนุนการทำงานในการตรวจสอบข่าวลวงในแต่ละประเทศอีกด้วย ภาคีโคแฟคจึงได้จัดงานวันตรวจสอบข่าวลวงในประเทศไทยขึ้น วันนี้ส่องสื่อจึงสรุปช่วงบ่ายที่สำคัญๆ มาให้ติดตามกันครับ
ภาคีโคแฟคจึงได้จัดงานวันตรวจสอบข่าวลวงในประเทศไทยขึ้น วันนี้ส่องสื่อจึงสรุปช่วงเช้าที่สำคัญๆ มาให้ติดตามกันครับ
ในวันนี้ ส่องสื่อจึงขอสรุปให้ได้อ่านกันแบบรวดเดียวจบกัน เพื่อเรียนรู้ประเด็นจากการทำงานข่าวลวงเชิงพื้นที่ต่อไปด้วย
แน่นอนว่าคนในวงการสื่อคงจะรู้จักว่าทุกวันที่ 2 เมษายน ของทุกๆ ปี จะเป็นวัน International Fact-Checking Day ซึ่งปีนี้เองทาง CO-FACT ร่วมมือกับหลายภาคส่วนและภาคีเครือข่าย จัดกิจกรรมในวันที่ 2 เมษายนขึ้นมา โดยหนึ่งในนั้นที่ถือว่าเป็นน้ำจิ้มก่อนวันจริงคือการตั้งห้อง Clubhouse ภายใต้ชื่อห้อง “Why We Need Fact-Checkers?”
เขาว่ากันว่าเวลาจะทำงานอะไรสักอย่างทุกคนมักหวังผลเสมอ เช่นเดียวกับการสร้างข่าวปลอมที่คนสร้างต้องหวังผลอะไรสักอย่างอย่างแน่นอนอยู่แล้ว ยิ่งเป็นข่าวในเชิงทางการเมืองด้วยละก็จะยิ่งหวังผลเป็นอย่างมากเลยทีเดียว ในตอนสุดท้ายของบทความซีรีส์ชุด “ข่าวปลอมกับการเมืองไทย” ที่ร่วมกันจัดทำโดยส่องสื่อ และ COFACT ในตอนนี้เราจะมาแกะหาสาเหตุของข่าวปลอมทั้งหมดว่าเขาหวังผลอะไรกันแน่? ติดตามกันครับ
“ข่าวปลอม” กับการเมืองเป็นของคู่กันมาโดยตลอด ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการโจมตีฝั่งตรงข้ามให้เกิดความเสียหายทั้งชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือ