10 อันดับสถานีวิทยุที่มีคนฟังและโฆษณามากที่สุด – มิถุนายน 2564
เดือนมิถุนายนของทุกปี ถือได้ว่าเป็นช่วงฤดูฝนที่หลายคนมักจะหลีกเลี่ยงออกจากบ้าน นอกเหนือจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

เดือนมิถุนายนของทุกปี ถือได้ว่าเป็นช่วงฤดูฝนที่หลายคนมักจะหลีกเลี่ยงออกจากบ้าน นอกเหนือจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ช่วงเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่ผ่านพ้นความคึกคักของการใช้เงินไปแล้ว แต่อย่างไรก็ดีวงการวิทยุก็มีการปรับเปลี่ยนกันพอสมควรเหมือนกัน
ปัจจุบันวิทยุ จส100 ดำเนินงานโดย บริษัท แปซิฟิค คอร์ปอเรชั่น จำกัด ซึ่งวันนี้ส่องสื่อจะมาอัพเดตรายได้ให้ได้อ่านกันว่าวิทยุจราจรคลื่นนี้มีรายได้เท่าไหร่กัน?
ส่องสื่อเลยนำข้อมูลจาก MEDIA RATING ROOM มากลั่นเป็นบทความให้เราได้อ่านกันครับ เดือนเมษายนนี้บอกได้เลยว่ามีทั้งคลื่นวิทยุที่ร่วงตุ๊บ และดีดขึ้นมาชิง Top 10 ได้มากพอสมควรเลยทีเดียว
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เปิดเผยงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2564
คราวนี้ทาง นีลเส็น ประเทศไทย ได้เปิดเผยข้อมูลจำนวนคนฟังวิทยุและเม็ดเงินโฆษณาวิทยุประจำเดือน มีนาคม 2564 ซึ่งเพิ่งเผยแพร่ไปในวันที่ 22 เมษายน 2564 ทางส่องสื่อจึงนำมาสรุปให้อ่านกันครับ
วงการวิทยุในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ยังคงแข่งขันกันอย่างดุเดือดกันเลยทีเดียว ไม่ว่าจะเป็นการแย่งฐานผู้ฟัง ตลอดจนไปถึงเม็ดเงินโฆษณา ซึ่งในบทความฉบับนี้จะพูดถึงจำนวนคนฟังที่มากที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์
PwC คาดการณ์รายได้รวมของกลุ่มอุตสาหกรรมสื่อและบันเทิงไทยจะเติบโต 6.3% ที่เกือบ 5.5 แสนล้านบาทในปี 2564 จาก 5.15 แสนล้านบาทในปี 63 ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยสื่อภาพยนตร์-เพลง วิทยุ และพอดคาสต์-ธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านจะเป็น 3 อันดับตลาดที่พลิกกลับมามีอัตราการเติบโตสูงที่สุด
ห่างหายมานานกับบทความเชิงเทคนิคเกี่ยวกับวงการสื่อ คราวนี้ทางส่องสื่อไปพบสิ่งที่น่าสนใจที่อยากนำมาเล่าให้ฟัง ในเรื่องของโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกที่เคยรับใช้ผู้ชมมานานจนถึงจุดสิ้นสุดนั้นมีการแบ่งระบบภาพออกอากาศหลายรูปแบบ ทั้ง PAL (แบบในไทยและยุโรป) SECAM และ NTSC แบบในอเมริกา
นับตั้งแต่การเริ่มแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่แพร่ระบาดทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยซึ่งทำให้ได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก สำหรับวงการสื่อเองก็เช่นกัน
ในปี 2563 อุตสาหกรรมสื่อในประเทศไทยดูเหมือนจะไม่ค่อยมีอนาคตสักเท่าไหร่ แต่ยังมีอีกสื่อหนึ่งที่มีทีท่าดีขึ้นและดูสวนกับกระแสของสื่อประเภทอื่นๆ อีกด้วย นั่นก็คือสื่อวิทยุนั่นเอง
นับตั้งแต่ไวรัสโควิด-19 ระบาดในประเทศไทย จนทำให้รัฐบาลขอความร่วมมือ Work from Home ในช่วงที่ผ่านมา ทำให้หลายธุรกิจประสบปัญหา หรือต้องหยุดชะงักลง แต่สื่อทีวีและสื่อออนไลน์กลับได้อานิสงส์จากวิกฤติในครั้งนี้
หลายท่านคงอาจจะทราบถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 กันไปบ้างแล้ว และเจ้าไวรัสร้ายตัวนี้ก็ส่งผลกระทบทั่งในแง่เศรษฐกิจ สังคม สาธรณสุข หรือแม้กระทั่งวงการสื่อเองก็ได้รับผลกระทบกันไปตามๆ กัน จนถึงการที่ภาครัฐสั่งปิดพื้นที่ต่าง ๆ เป็นเวลาอีก 14 วันเพื่อบรรเทาผลกระทบ ก็ยิ่งส่งผลกระทบต่อการทำงานของสื่อบ้านเราไม่น้อยเช่นกัน วันนี้ส่องสื่อจึงของรวบรวมผลกระทบที่เกิดขึ้นในวงการสื่อสารมวลชนกัน ติดตามจากรายงานฉบับนี้ได้เลย
แปปเดียวเราก็ผ่านพ้นปี 2562 กันไปแล้วนะครับ แต่ปีที่ผ่านมาวงการสื่อก็ถูก Disrupt เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่ของการปรับเปลี่ยนสถานการณ์จากเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
พูดถึงเรื่องราวการสรุปวงการสื่อกันไปแล้วในตลอดปี 2019 มาคราวนี้ส่องสื่อจะขอนำพาทุกท่านไปดูแนวโน้มทิศทางในปี 2020 กันบ้างว่าในสื่อ 2 แพลตฟอร์มหลักๆ ที่คนไทยนิยมกัน นั่นก็คือสื่อโทรทัศน์ และพอตแคสต์จะเปลี่ยนแปลงอย่างไรกันบ้าง? โดยเราได้รับเกียรติจาก “ดร.สิขเรศ ศิรากานต์” นักวิชาการสื่อสารมวลชน และ “พี่แซม พลสัน นกน่วม” บรรณาธิการ Mango Zero และผู้ร่วมก่อตั้ง Gettalks Podcast มาเล่าสู่กันฟังและดูทิศทางกัน ติดตามจากบทความนี้ได้เลยครับ