Echo Chamber: เสียงสะท้อนที่มีแต่เราได้ยิน
ในแวดวงสื่อสารมวลชน หรือผู้ที่เรียนด้านสื่อ ต้องเคยได้ยินหรือผ่านตากันมาบ้างกับแนวคิดเรื่อง “Echo Chamber” หรือแปลว่า “ห้องเสียงสะท้อน”

ในแวดวงสื่อสารมวลชน หรือผู้ที่เรียนด้านสื่อ ต้องเคยได้ยินหรือผ่านตากันมาบ้างกับแนวคิดเรื่อง “Echo Chamber” หรือแปลว่า “ห้องเสียงสะท้อน”
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 บริษัท หนังสือพิมพ์ ตงฮั้ว จํากัด ได้แจ้งความประสงค์เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น “บริษัท ตงฮั้ว มีเดีย แล็บ จำกัด”
ก่อนอื่นต้องมาทำความรู้จักกันก่อน บริษัท กู๊ด คอมมิวนิเคชั่น จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2533 ด้วยทุนจดทะเบียน 100,000 บาท โดยขณะนั้นยังอยู่ในฐานะห้างหุ้นส่วนจำกัด
บทความที่ผมกำลังพิมพ์มาให้ท่านอ่าน และที่ท่านกำลังจะอ่านอยู่นี้จะมาพังทลายความน่าเชื่อถือของสำนักข่าวทั้งที่มีชื่อเสียงและไม่มีชื่อเสียงที่พวกคุณหลงเชื่อไปแล้ว
Agenda setting เป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของสื่อมวลชน ที่สื่อมวลชนมีอำนาจในการกำหนดวาระสำคัญของข่าวสาร
ภาคีโคแฟคยังมีการถ่ายทอดสดในภาคค่ำเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 ในการสื่อสารจากหลายภาคส่วนอีกด้วย ซึ่งในช่วงแรกเราจะขอนำเสนอ 4 มุมมอง
หลายคนอาจจะเคยสัมผัสหรือเห็นคนพิการจำนวนไม่น้อยในสังคมอย่างแน่นอน แต่จะมีน้อยคนนักที่จะเข้าใจว่าคนพิการในปัจจุบันใช้ชีวิตยังไง? มีเซ็กส์ยังไง? หรืออย่างล่าสุดคือการมีสุนัขนำทางในประเทศไทยที่หลายคนยังไม่ทราบว่ามีจริงๆ แต่เรามีเว็บไซต์หนึ่งมาแนะนำกันครับ
ทีมกองบรรณาธิการเว็บไซต์ส่องสื่อจึงเริ่มต้นค้นหาว่าเว็บไซต์สื่อในบ้านเรามีเว็บไซต์ไหนที่มีคอลัมน์เกี่ยวกับการตรวจสอบข่าวลวงบ้าง? แล้วก็ค้นพบเว็บไซต์ต่างๆ ดังต่อไปนี้ที่เราจะรายงานกัน ซึ่งแน่นอนว่าต้องยอมรับว่าค่อนข้างหายากเลยทีเดียว
ส่องสื่อเราเคยนำเสนอและสัมภาษณ์ “ธนกร วงษ์ปัญญา” Content Creator การเมือง กองบรรณาธิการข่าว THE STANDARD ในรูปแบบของรายการออนไลน์อย่าง “ส่องสื่อ Saturday Live” เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2563
หลังจากที่เราได้อ่านบทความแรกเกี่ยวกับข่าวปลอมบนโลกออนไลน์กันไปแล้ว เรากลับมาดูการทำหน้าที่ของสื่อหลักตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และการแบนสื่อจากภาครัฐและประชาชน
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ประกาศก้าวต่อไปขององค์กรในฐานะที่กำลังครบรอบปีที่ 14 ของการก่อตั้ง โดยรองศาสตราจารย์ วิลาสินี พิพิธกุล ผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ได้กล่าวว่า ในปีที่ผ่านมาไทยพีบีเอสดำรงความเป็นสื่อสาธารณะที่มีความน่าเชื่อถือ
ล่าสุด ส่องสื่อ มีโอกาสได้พบปะและพูดคุยกับป้ามลในงาน “แสงแห่งโอกาส” ที่เป็นงานสรุปบทเรียนตลอด 15 ปีที่ผ่านมาของ “ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก” ในการคืนเยาวชนดีสู่สังคม และพอเราได้ลองอ่านหนังสือในงานที่เป็นการสรุป 6 บทเรียนของการทำงานแล้ว เราไม่ขอสัมภาษณ์ไม่ได้ครับ
สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ร่วมกับ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ จัดทำกิจกรรมร่างโครงการหลักสูตรการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพกำลังคนด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ โดยในกิจกรรมได้มีงานเสวนาเรื่อง “ใครต้องปรับ อะไรต้องเปลี่ยนในบริบทนิเวศสื่อ?” โดยมีผู้เข้าร่วมเสวนาซึ่งเป็นสื่อมวลชนเข้าร่วมมากพอสมควร
หลายสถาบันและองค์กร จึงมารวมตัวจัดกิจกรรมเสวนาหลังการยื่นหนังสือไปยัง กสทช. ในงานที่มีชื่อว่า “ข่าวเลยเถิดละเมิดสิทธิ ปั่นดรามา มอมเมา… สังคมไทยควรทำอย่างไร ?” ซึ่งเป็นการตั้งคำถามการนำเสนอข่าวที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ในรูปแบบการนำเสนอแบบมีพล็อตเรื่อง เปรียบดั่งคล้ายละครนั่นเอง
ช่วงนี้ทุกคนคงจะอยู่บ้านกันบ่อยขึ้นบ้าง ไม่มากก็น้อยใช่ไหมครับ? หลายคนก็ได้มีโอกาสเปิดดูรายการโทรทัศน์หลายๆ รายการ รวมไปถึงสารคดีด้วยเช่นกันใช่ไหมละครับ? วันนี้ส่องสื่อได้นำเรื่องราวที่ยังไม่เคยได้เผยแพร่ที่ไหนมาก่อน มาเผยแพร่เพื่อพูดถึงประสบการณ์ในการทำสารคดีเชิงข่าวให้ทุกคนได้อ่านกัน โดยเราไม่ได้มาพูดด้วยตัวเอง แต่วันนี้เราเชิญ “ภูริลาภ ลิ้มมนตรี” ซึ่งตอนนี้เขาทำงานเป็นหัวหน้า Producer อยู่ที่ PPTV HD ช่อง 36 ผู้รับผิดชอบรายการข่าวและสารคดีเชิงข่าวมากมาย โดยเฉพาะ “สารตั้งต้น” ซึ่งเป็นสารคดีเชิงข่าวที่ดีติดอันดับของส่องสื่อเลยก็ว่าได้ เราลองมาฟังประสบการณ์ว่าเขาปรับจากเป็นเต็กที่อยากจะลาออก เพราะทำสารคดีเชิงข่าวไม่ได้ ก้าวมาเป็นหัวหน้า Producer ได้อย่างไรบ้าง? ไปติดตามกันครับ